Posts

Showing posts from January, 2018
Image
15 เมืองเล็กๆ แต่สวยมากของฝรั่งเศส 1. Nice นีส(Nice)  เมืองตากอากาศมีบรรยากาศชายหาดริมทะเลเมดิเตอร์เรเนียนสุดฟิน ที่เหมาะสำหรับคู่รักที่เสาะหาสถานที่ฮันนีมูนแสนโรแมนติก ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ของฝรั่งเศส ได้ชื่อว่าเป็นท่องเที่ยวยอดนิยมติดอันดับต้นๆและยังมีขนาดใหญ่เป็นอันดับห้าของฝรั่งเศส สถานที่ท่องเที่ยวทางธรรมชาติมีความหลายหลาย เนื่องมาจากสถานที่ตั้งอยู่ระหว่างภูเขาและทะเลเมดิเตอร์เรเนียน จะเที่ยวแนวผจญภัยก็ได้หรือจะต้องการซึมซับความบรรยากาศชายหาดอันงดงามก็ดี ยิ่งช่วงฤดูร้อนท้องฟ้าปลอดโปร่งตัดกับท้องทะเลสีฟ้าสดเป็นอะไรที่น่าเที่ยวมากที่สุด ชายหาดที่แนะนำนั่นคือ ลา โพรเมอ นาด เด ซอง เกส (La Promenade des Anglais) 2. Aix-en-Provence เอ็ก ซอง โปรวองซ์(Aix-en-Provence)  อดีตเมืองหลวงของแคว้นโพรวองซ์ที่มีสิ่งบ่งชี้ถึงความเจริญในยุคเก่าก่อนมากมาย ไม่ว่าจะเป็นสถานที่ทางประวัติศาสตร์หรือโบราณสถานสำคัญต่างๆ ที่บางแห่งมีอายุมากกว่า 600 ปี โดยเฉพาะบริเวณถนนสายหลักของเมืองอย่าง ถนนมิราโบ (le cour Mirabeau) ที่สองข้างทางเต็มไปด้วยต้นไม้ร่วมรื่นและทิวทัศน์ของเมืองเก่าที่ย
Image
Cheese เดิมคนไทยอาจไม่รู้จักคุ้นเคยกับชีสกันเท่าไร ซึ่งก็ไม่แปลก เพราะประเทศในแถบบ้านเราอุดมสมบูรณ์ในน้ำมีปลาในนามีข้าว แต่อย่างประเทศที่หนาวเหน็บเช่นแถบยุโรปชีสกลับกลายเป็นสิ่งที่แทบจะขาดไม่ได้ในทุกครัวเรือนที่พึ่งพาการทำฟาร์มเลี้ยงปศุสัตว์เป็นหลัก สำหรับครอบครัวที่มีสมาชิกหลายคนการมีวัวนมตัวหนึ่งนั้นเป็นสมบัติที่สูงค่าเพราะนอกจากจะรีดนมมาทานได้ทุกๆ วัน ยังสามารถแปรรูปนมเป็นชีส ซึ่งเก็บถนอมรักษาไว้ได้นานพอที่จะทานไปได้อีกหลายเดือน จึงเรียกว่าความจำเป็นที่จะต้องสรรหาอาหารที่เก็บรักษาได้ยาวนานในช่วงฤดูหนาวที่ทำการเพาะปลูกไม่ได้นี่เองที่ทำให้เกิดการทำชีสขึ้นอย่างแพร่หลาย จากวัฒนธรรมการกินชีสนี่เองที่ทำให้ทางยุโรปคิดค้นชีสขึ้นมาหลากหลายรูปแบบ อากาศต่าง หญ้าต่าง พันธุ์ของวัวต่าง รสชาติของนมที่เป็นวัตถุดิบตั้งต้นก็ต่าง คล้ายๆ กับไวน์จะดีได้ก็มาจากดินและภูมิอากาศที่ดีในการปลูกองุ่น แถมแต่ละหมู่บ้านแต่ละเมืองก็มีสูตรเฉพาะของตนเอง แคว้นในทำชีสได้อร่อยนานวันเข้าชื่อเสียงก็ขจรขจาย จึงไม่แปลกที่ชีสหลายๆ ชนิดจะมีชื่อเรียกตามหมู่บ้าน เช่น ชีส “Camembert” ที่ได้ชื่อมาจากหมู่บ้านใหญ่ในแคว
Image
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว สมเด็จพระเจ้ากรุงสยาม [1] ครองราชย์ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2411 – 23 ตุลาคม พ.ศ. 2453 ราชาภิเษก 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2411 (ครั้งที่ 1) 16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2416 (ครั้งที่ 2) พระบรมมหาราชวัง ก่อนหน้า พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ถัดไป พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ผู้สำเร็จราชการ สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค) (2411–16) สมเด็จพระนางเจ้าเสาวภาผ่องศรี (2440) สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิราวุธ สยามมกุฎราชกุมาร (2450) พระอัครมเหสี สมเด็จพระนางเจ้าเสาวภาผ่องศรี พระบรมราชินีนาถ วัดประจำรัชกาล วัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามราชวรวิหาร ราชวงศ์ ราชวงศ์จักรี พระราชบิดา พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระราชมารดา สมเด็จพระเทพศิรินทราบรมราชินี พระราชสมภพ 20 กันยายน พ.ศ. 2396 พระที่นั่งสมมติเทวราชอุปบัติ กรุงเทพมหานคร สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้าจุฬาลงกรณ์ สวรรคต 23 ตุลาคม พ.ศ. 2453 (57 พรรษา) พระที่นั่งอัมพรสถาน   พระราชวังดุสิต กรุงเทพมหานคร ศาสนา ศาสนาพุทธ ลายพระอภิไธย   พระราชประวัติ [ แก้ ] พระบาทสมเด็จพร